หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

เซลล์กัลวานิก

เซลล์กัลวานิก
 เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือระบบที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยภายในเซลล์โดยภายในเซลล์เกิดปฏิกิริยาถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากสารหนึ่งไปยังอีกสารหนึ่ง(ปฏิกิริยารีดอกซ์)โดยที่สารตั้งต้นไม่ได้สัมผัสกันโดยตรงทำให้  
เกิดการไหลผ่านของอิเล็กตรอนตัวนำอย่างต่อเนื่อง จะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร

  
                      ส่วนประกอบต่างๆ                            
  แต่ละครึ่งเซลล์ประกอบด้วยโลหะซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าจุ่มอยู่ในไอออนของสารละลายโลหะนั้นทำหน้าที่เป็นสารละลาย(Zn)จุ่มอยู่ในสารละลาย(Zn2+)ขั้วทองแดง(Cu)จุ่มอยู่ในสารละลายทองแดงแต่บางครั้งครึ่งเซลล์ประกอบ ด้วยอโลหะกับอโลหะไอออนหรือไอออนสองชนิดกรณีขั้วเฉื่อยเช่นแพลทินัม(Pt)หรือแกรไฟต์(C)เป็นขั้วไฟฟ้า เพราะอโลหะหรือไอออนไม่สามารถ เป็นขั้วไฟฟ้าได้เช่นมีแก๊สอยู่รวมกับHหรือแก๊สClอยู่รวมหรือSnอยู่รวมกับSn 
โดยมี Pt เป็นขั้วไฟฟ้าขั้วไฟฟ้าเฉื่อยหมายถึงขั้วไฟฟ้าที่มีความเฉลี่ยต่อปฏิกิริยาไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยา
ไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์เพียงแต่ทำหน้าที่ให้กระแสอิเล็กตรอนหรือกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเท่านั้น)  

แบ่งตามลักษณะปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ได้เป็น2ประเภท
1.เซลล์ปฐมภูมิ
 เป็นเซลล์กัลวานิกที่ปฏิกิริยาเคมีภายในเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้วไม่สามารถเปลี่ยนผลิตภัณฑ์
มาเป็นสารตั้งต้นได้ไม่สามารถนำกลับมาใช้อีก ตัวอย่างเช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท เซลล์เงิน
2.เซลล์ทุติยภูมิ
 เป็นเซลล์กัลวานิกที่นำไปใช้แล้วสามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับโดยการอัดไฟหรือประจุไฟจึงนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ตัวอย่างเช่น เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว เซลล์นิกเกิล-แคดเมียม

ตัวอย่างเซลล์ปฐมภูมิ